พาเลต, พาเลตไม้, พาเลตพลาสติก, พาเลตเหล็ก, พาเลตโฟม, พาเลตกระดาษ – พาเลต.com

คิดถึงพาเลต คิดถึงพาเลต.com

  • Home
  • About
  • FSC และการรับรองทางป่าไม้ (Forest Certification)
  • IPPC/ISPM15 คืออะไร
  • PALLET EURO/ยูโรพาเลต
  • การตรวจสอบโรงงานก่อนเริ่มกิจการ
  • การอัดน้ำยาไม้
  • การอาบน้ำยาไม้อย่างง่าย
  • การแปรรูปไม้
  • ข้อกำหนดไม้เนื้ออ่อนไม้เนื้อแข็ง
  • ความชื้นกับคุณสมบัติไม้
  • คุณสมบัติและประโยชน์ของไม้แต่ละชนิด
  • ตารางการหดตัวของไม้ชนิดต่างๆ Wood Shrinkage Table
  • ทำไมจึงต้องมีการอบไม้ก่อนนำไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ
  • พาเลตกระดาษ (Papar Pallets)
  • พาเลตพลาสติก (Plastic Pallets)
  • พาเลตสำหรับContainer
  • พาเลตเหล็ก (Steel Pallets)
  • พาเลตโฟม (Foam Pallets)
  • พาเลตไม้ (Wooden Pallets)
  • รายละเอียดตู้คอนเทนเนอร์
  • วงรอบปีกับความหนาแน่นไม้
  • อัตราการแปรรูปไม้ (Lumber recovery)
  • โลจิสติกส์ คืออะไร(Logistics)

15

Oct

FSC และการรับรองทางป่าไม้ (Forest Certification)

Posted by admin  Published in พาเลต, พาเลตไม้, พาเลตพลาสติก, พาเลตเหล็ก, พาเลตโฟม, พาเลตกระดาษ – พาเลต.com
…………….. ?

FSC (Forest Stewardship Council)

เป็นองค์กรเอกชนภายใต้ความร่วม–มือ ของกลุ่มต่างๆจากทั่วโลก อาทิ กลุ่มอนุรักษ์ป่าไม้ และสิ่งแวดล้อม ผู้ค้าไม้ ผู้ผลิตสินค้าจากไม้ และองค์กรผู้ให้การรับรองไม้ และผลิตภัณฑ์จากไม้ เพื่อจัดทำระบบการให้การรับรองไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ ซึ่งเป็นการรับประกันว่า ไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ที่ได้รับการประทับเครื่องหมาย FSC เป็นไม้และผลิตภัณฑ์ที่ใช้ไม้จากป่าธรรมชาติหรือป่าปลูกที่มีการจัดการป่าอย่างถูกต้องตามหลักการที่เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ คือมีการปลูกไม้แบบยั่งยืน

………………… ?
? ? ?



ตัวอย่างใบรับรองFSC

การรับรองทางป่าไม้ (Forest Certification)


การรับรองทางป่าไม้ (Forest Certification)
เป็นเครื่องมือหรือวิธีการใหม่ที่มีผลกระทบโดยตรงต่อวงการป่าไม้ทั่วโลก โดยการใช้การตลาดเป็นข้อกำหนดในการจูงใจให้ปรับปรุงวิธีการจัดการป่าไม้ โดยวิธีการที่ได้รับการยอมรับแพร่หลายและเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะเป็นการชักจูงให้กระทำตามโดยมิใช่บังคับโดยกฎหมายหรือกฎระเบียบต่างๆ อย่างที่เคยปฏิบัติมาในอดีต และประการสำคัญวิธีการนี้สามารถช่วยให้ผู้ที่เกี่ยวข้องกับป่าไม้ (Stake ? holders) หันหน้าเข้าหากันเพื่อที่จะเดินไปตามหลักการของการพัฒนาแบบยั่งยืน
การรับรองป่าไม้ (F.C) ได้มีการพัฒนาต่อจากการประชุม UNCED (United Nation Conference on Environment and Development) ที่เมือง Rio de Janeiro, ประเทศบราซิล เมื่อวันที่ 3 ? 14 มิถุนายน ปี 1992 ซึ่งมีข้อสรุปร่วมกันที่จะให้ความสนใจ 3 ประการหลัก คือ
1. ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biological Diversity)
2. การเปลี่ยนแปลงของชั้นบรรยากาศ (Climate Change)
3. Combat Desertificationและได้มีการกำหนดหลักการป่าไม้ขึ้นมา (Forest Principles) สำหรับเป็นหลักในการนำไปปฏิบัติทั่วโลก และจากการประชุมการป่าไม้ของทวีปยุโรปที่กรุงเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ ในปี 1993 ได้มีการกำหนดเรื่องหลักเกณฑ์การจัดการป่าไม้แบบยั่งยืนขึ้นมา โดยจะต้องมีการดำเนินการอย่างมีมาตรฐาน และในการนำสินค้าออกจากป่าก็ควรจะต้องดำเนินการในลักษณะการจัดการป่าไม้แบบ ยั่งยืน รวมทั้งมีแนวความคิด เรื่องการติดฉลากรับรองสินค้าจากไม้ (Labelling) และในปี 2000 ประเทศสมาชิกของ ITTO (International Tropical Timber Organization) ได้มีการตกลงกันว่าให้ประเทศสมาชิกเสนอแนวทางในการดำเนินการกำหนดหลักการ จัดการป่าไม้แบบยั่งยืน เพื่อจะได้ใช้ในการปฏิบัติการต่อไ

จากมุมมองความต้องการที่จะจัดการป่าไม้แบบยั่งยืน (Sustainable Forest Management) ได้แพร่หลายไปทั่วโลก ทำให้องค์กรเอกชนต่างๆ ที่ไม่สามารถไปบอกกล่าวให้รัฐบาลของประเทศต่างๆ ดำเนินการจัดการป่าไม้แบบยั่งยืน ได้รวมตัวกันชักชวนให้ผู้บริโภค เลือกซื้อผลิตภัณฑ์ไม้และกระดาษที่มาจากป่าไม้ที่มีการจัดการแบบยั่งยืน ซึ่งวิธีการนี้จะทำให้ผู้ผลิตเริ่มหันมาสนใจต่อทรัพยากรมากขึ้น จึงได้เกิดมิติใหม่ในวงการป่าไม้ของโลก คือ การรับรองทางป่าไม้ (Forest Certification) เพื่อป้องกันรักษาทรัพยากรป่าไม้ทั่วโลกเพื่อขจัดความสับสนในหมู่ผู้บริโภคและผู้ผลิต และหาข้อยุติเรื่อง F.C. จึงได้เกิดมีการรวมตัวกันระหว่างตัวแทนองค์กร สิ่งแวดล้อม นักวิชาการป่าไม้ ผู้ค้าไม้ องค์กรชุมชนท้องถิ่น สมาคมป่าชุมชน และสถาบันรับประกันผลผลิตป่าไม้ ร่วมกันจัดตั้งองค์กรที่เรียกว่า Forest Stewardship Council หรือ FSC ขึ้นมา เพื่อสนับสนุนการจัดการป่าไม้ ที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม รวมทั้งผลตอบแทนที่ดีต่อภาคเศรษฐกิจและสังคม (Environment, Economic and Social) โดยเน้นถึงการจัดการป่าไม้ที่ดีและมีเป้าหมายที่จะประเมินและมีการแต่งตั้ง

Pages

  • About
  • FSC และการรับรองทางป่าไม้ (Forest Certification)
  • IPPC/ISPM15 คืออะไร
  • PALLET EURO/ยูโรพาเลต
  • การตรวจสอบโรงงานก่อนเริ่มกิจการ
  • การอัดน้ำยาไม้
  • การอาบน้ำยาไม้อย่างง่าย
  • การแปรรูปไม้
  • ข้อกำหนดไม้เนื้ออ่อนไม้เนื้อแข็ง
  • ความชื้นกับคุณสมบัติไม้
  • คุณสมบัติและประโยชน์ของไม้แต่ละชนิด
  • ตารางการหดตัวของไม้ชนิดต่างๆ Wood Shrinkage Table
  • ทำไมจึงต้องมีการอบไม้ก่อนนำไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ
  • พาเลตกระดาษ (Papar Pallets)
  • พาเลตพลาสติก (Plastic Pallets)
  • พาเลตสำหรับContainer
  • พาเลตเหล็ก (Steel Pallets)
  • พาเลตโฟม (Foam Pallets)
  • พาเลตไม้ (Wooden Pallets)
  • รายละเอียดตู้คอนเทนเนอร์
  • วงรอบปีกับความหนาแน่นไม้
  • อัตราการแปรรูปไม้ (Lumber recovery)
  • โลจิสติกส์ คืออะไร(Logistics)

Recent Posts

  • พื้นที่โฆษณา
  • พาเลตไม้กรดา
  • ไม้เบญจพรรณแปรรูป
  • ไม้เบญจพรรณ
  • Hello world!

Categories

  • พาเลต.com

Archives

  • October 2009
  • September 2009

Blogroll

  • wooden pallet
  • ตลาดไม้ออนไลน์
  • พาเลต
  • พาเลตไม้
  • พาเลท
  • พาเลทไม้
  • แพลเลต
  • แพลเลตไม้
  • แพลเลท
  • แพลเลทไม้

Recent Entries

  • พาเลตไม้กรดา
  • ไม้เบญจพรรณแปรรูป
  • ไม้เบญจพรรณ
  • พื้นที่โฆษณา
  • Hello world!

Recent Comments

  • No Comments
  • Random Selection of Posts

    • ไม้เบญจพรรณแปรรูป
    • พาเลตไม้กรดา
    • พื้นที่โฆษณา
    • Hello world!
    • ไม้เบญจพรรณ
© 2008 พาเลต, พาเลตไม้, พาเลตพลาสติก, พาเลตเหล็ก, พาเลตโฟม, พาเลตกระดาษ – พาเลต.com is proudly powered by WordPress
Theme designed by Roam2Rome